เช็คราคาแผนประกัน
กรอกข้อมูลเพื่อค้นหาแผนประกัน
รายละเอียดที่อยู่อาศัย
เลือกประเภทที่อยู่อาศัย *
บ้านเดี่ยว
บ้านแฝด
ทาวน์โฮม
คอนโด
ตึกแถว
โครงสร้างบ้าน *
จำนวนชั้น *
ลักษณะการใช้งานบ้าน *
ตำแหน่งบ้านของคุณ *
|
อ่านแล้ว 308 ครั้ง
เมื่อช่วงสองสัปดาห์ที่ผ่านมาหลายประเทศในฝั่งยุโรปได้รับผลกระทบน้ำท่วม สูญหายนับร้อยราย และถัดมาเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ในเมืองหลวง เจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน มีรายงานการเกิดน้ำท่วม น้ำล้นตลิ่ง ทำให้มีผู้เสียชีวิตเกือบ 20 คน ด้าน ศ. Johnny Chan แห่งมหาวิทยาลัยฮ่องกงกล่าวว่า นี่คือผลพวงจากภาวะโลกร้อน ทำให้มีปริมาณฝนตกหนักในรอบ 1,000 ปี วันนี้พี่หมี TQM เลยจะพามาทความรู้จักเกี่ยวกับ ฝน 1,000 ปี ว่า รุนแรงแค่ไหน และจะรับมืออย่างไรหากไทยต้องเผชิญ
จากเหตุการ์ฝนตกหนักในรอบ 1,000 ปีที่ผ่านมาในประเทศจีน ทำให้เกิดปริมาณฝนสะสม 3 วัน ที่เมืองเจิ้งโจว มีมากถึง 617.1 mm กล่าวคือฝนตก 3 วันเทียบเคียงฝน 1 ปี ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้จะเกิดบ่อยครั้งขึ้นในอนาคต โดยเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดจากปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อน
กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) ระบุว่า ภาพรวมช่วงฤดูฝน ปี 2564 สภาพอากาศมีลักษณะคล้ายคลึงกับปี 2551 โดยช่วงต้นฤดูฝน เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม จะมีปริมาณฝนน้อย เสี่ยงเกิดภาวการณ์ขาดแคลนน้ำ และจะมีฝนตกหนักในเดือนกันยายน – ตุลาคม เสี่ยงเกิดอุทกภัยบริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนช่วงปลายปีเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม จะเกิดฝนตกหนักเสี่ยงเกิดน้ำท่วมบริเวณภาคใต้
ขณะที่ปรากฏการณ์ “ลานีญา” จะเกิดสภาวะอ่อนๆ ช่วงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ซึ่งมีผลให้เกิดฝนตกเพิ่มขึ้นบริเวณภาคใต้ และจากการคาดการณ์ฝน ONE MAP ช่วงเดือนสิงหาคม – ธันวาคม มีค่าฝนเฉลี่ยมากสุดในเดือนกันยายน ปริมาณ 260 มิลลิเมตร เท่านั้น ดังนั้นโอกาสที่กรุงเทพฯ จะเกิดฝนตกหนักรอบ 1,000 ปี หรือเกิน 350 มิลลิเมตรต่อวัน จึงมีความน่าจะเป็นน้อยมาก
รายละเอียดที่อยู่อาศัย
เลือกประเภทที่อยู่อาศัย *
บ้านเดี่ยว
บ้านแฝด
ทาวน์โฮม
คอนโด
ตึกแถว
โครงสร้างบ้าน *
จำนวนชั้น *
ลักษณะการใช้งานบ้าน *
ตำแหน่งบ้านของคุณ *